ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน
ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน
พ.ศ.2559-ปัจจุบัน
ประวัติการศึกษา
Studienkolleg |
University of Applied Sciences Giessen/Friedberg,GERMANY | |
Dipl.–Ing (Mechanical Engineering) |
University of Applied Sciences Giessen/Friedberg,GERMANY | |
M.Sc. (Polymer Technology) |
University of Applied Sciences Aalen,GERMANY | |
M.Sc. (Material Science) Erlangen-Nuernberg |
University, GERMANY | |
Dr.-Ing(Mechanical and Process Engineering) | Kaiserslautern University,GERMANY | |
Postdoctoral |
Kaiserslautern University,GERMANY | |
Postdoctoral | Purdue University,USA | |
Guest Research | Kaiserslautern University,GERMANY | |
Habilitation (MechanicalEngineering) |
Chemnitz University,GERMANY |
ประวัติการฝึกอบรม
๏ ผ่านการอบรม “หลักสูตรสมรรถนะวิชาชีพครูรุ่นที่ 4” ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม 2553 ณ หอประชุมเบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชินี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
๏ ผ่านการอบรม “โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารมหาวิทยาลัยรุ่นที่ 4” ระหว่างวันที่ 5-15 มีนาคม 2556
ณ สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
๏ ผ่านการอบรม “หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารมหาวิทยาลัยระดับสูงรุ่นที่ 24” ระหว่างวันที่ 20 มีนาคม-16 พฤษภาคม 2556
จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
๏ ผ่านการอบรม “หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงของประเทศไทยรุ่นที่ 1” จัดโดยสถาบัน Canaan Global Leadership Training Center
ระหว่างวันที่ 11-20 ตุลาคม 2556 ณ สาธารณรัฐเกาหลี
๏ ผ่านการอบรม “หลักสูตรนักบริหาร การงบประมาณระดับสูง (นงส.) รุ่นที่ 3”
๏ ผ่านการอบรม “หลักสูตร ASEAN-QA HIGH LEVEL VISIT” in Postdam, Germany
ประวัติการทำงาน
๏ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและส่งเสริมวิชาการ
๏ ศาสตราจารย์สาขาวิศวกรรมวัสดุศาสตร์ สังกัดภาควิชาวิศวกรรมการผลิต บัณฑิตวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน (TGGS)
๏ รองศาสตราจารย์ (วิธีพิเศษ) สาขาวิศวกรรมวัสดุศาสตร์ สังกัดภาควิชาวิศวกรรมการผลิต
บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน(TGGS)
๏ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวิศวกรรมวัสดุศาสตร์สังกัดภาควิชาวิศวกรรมการผลิตบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์
นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน(TGGS)
๏ รองผู้อำนวยการบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน(TGGS)
๏ ผู้ประสานงานหลักสูตรวิศวกรรมการผลิต บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน
๏ Guest Researcher at the Institute for Composite Materials, University of Kaiserslautern,GERMANY
๏ Engineer at BMW
๏ Assistance Researcher at the Plastics Engineering Department, University of Applied Sciences Aalen, GERMANY
ตำราเรียน และเอกสารประกอบรายวิชา
๏ หนังสือ/ตำราที่แต่งและเรียบเรียง 5 เรื่อง
๏ มีผลงานประชุมวิชาการจำนวน 39 เรื่อง และมีผลงานวิจัยนานาชาติตีพิมพ์ใน International Journals จำนวน 58 เรื่อง
๏ มีงานบริการวิชาการให้กับสังคมจำนวน 12 เรื่อง
๏ อนุสิทธิบัตร (Patent) 1 โครงการและกำลังขออนุสิทธิบัตรอีก 2 โครงการ
รางวัลเกียรติยศระดับชาติ
๏ รางวัลทุนวิจัย Deutcher Akademisher Austauschdienst (DAAD) Master Thesis Scholarships (พ.ศ. 2542)
๏ รางวัลทุนวิจัย Deutsche Forschungsgemeinschaft, DFG (German Research Foundation) Research Training Groups : (พ.ศ. 2548)
๏ รางวัลทุนวิจัย DAAD/IKYDA program, Deutcher Akademisher Austauschdienst(DAAD) and Greek State Institute of Scholarships(IKY)
Research Trip: University of Patras, Department of Materials Science (พ.ศ.2495)
๏ รางวัลทุนวิจัย DAAD/IKYDA program, Deutcher Akademisher Austauschdienst(DAAD) and Greek State Institute of Scholarships(IKY)
Research Trip: University of Patras, Department of Materials Science(พ.ศ.2550)
๏ รางวัลทุนวิจัย DAAD/IKYDA program, Deutcher Akademisher Austauschdienst(DAAD) and Greek State Institute of Scholarships(IKY)
Research Trip: University of Patras, Department of Materials Science (พ.ศ.2551)
๏ รางวัล Poster Outstanding Award 2014 ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
14th International Conference on Mechanics of Composite Materials” ระหว่างวันที่ 2-6 มิถุนายน 2557 ณ Riga, Latvia
๏ รางวัลชนะเลิศนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล
ISI ซึ่งมีคะแนนรวมจำนวนการตีพิมพ์สูงสุด ประจำปี พ.ศ. 2553
๏ รางวัลชนะเลิศนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล
ISI ซึ่งมีคะแนนรวมจำนวนการตีพิมพ์สูงสุด ประจำปี พ.ศ. 2555
๏ รางวัลชนะเลิศนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือประเภทผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่
อยู่ในฐานข้อมูลISIซึ่งมีคะแนนรวมจำนวนการตีพิมพ์สูงสุด และรางวัลคะแนนรวมผลงานที่ยอมรับระดับสากลสูงสุดประจำปี พ.ศ. 2556
๏ รางวัลวิจัยระดับดีมาก(ร่วมกับ ผศ.ดร.ระพีพันธ์ แดงตันกี)ในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 3 HERP CONGRESS III
ระหว่างวันที่ 9-11 มีนาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
๏ อนุสิทธิบัตร (ร่วมกับ ผศ.ดร.ระพีพันธ์ แดงตันกี, นายชัยศิริ กิจเภาสงค์ และนางสาวรพีภรณ์ ศรีสุข)
“ถังสกัดเรซิ่นอีพ็อกซีจากซากแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดย่อมภายใต้สภาวะอุณหภูมิและความดัน” เลขที่คำขอ 1403000781
๏ รางวัลอาจารย์ดีเด่น กองทุนเอกิ้น เลาเกเซ่นอนุสรณ์ ซึ่งคัดเลือกจากนักวิชาการผู้มีความรู้ความ สามารถจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วประเทศ
ประจำปี พ.ศ. 2558